ค่าธรรมเนียมเรียกเก็บจากผู้นำเข้าหรือผู้ขออนุญาตสินค้าขาเข้า
ลำดับที่
|
|
201
|
ค่าธรรมเนียมการใช้ท่าสำหรับการขนถ่ายสินค้า (CARGO DISCHARGING FEE)
เป็นค่าใช้ท่าเทียบเรือ ค่าควบคุมและเครื่องมือทุ่นแรง ในการขนถ่ายสินค้าขาเข้าขึ้นจากเรือ ส่งมอบโดยตรง หรือเคลื่อนย้ายสินค้านั้น ไปยังที่เก็บสินค้าเพื่อรอส่งมอบ เรียกเก็บในอัตราดังนี้
|
|
บาท/ตัน
|
|
201.1 ใช้เครื่องมือของท่าเรือ
|
30
|
|
201.2 ใช้เครื่องมือของเอกชน
|
15
|
|
ยานพาหนะที่ขับเคลื่อนขึ้น/ลงเรือเอง
|
บาท/คัน
|
|
201.2.1 รถยนต์
|
350
|
|
201.2.2 รถจักรยานยนต์
|
100
|
|
202
|
ค่าธรรมเนียมการส่งมอบสินค้า (CARGO DELIVERY FEE)
เป็นค่าส่งมอบสินค้าที่ขนถ่ายจากเรือโดยตรงหรือส่งมอบสินค้านั้น ณ ที่เก็บสินค้า เป็นการส่งมอบหน้าตู้โดยตรงทั้งตู้ หรือเป็นสินค้าที่เปิดเข้าเก็บในที่เก็บแล้วให้แก่ผู้นำเข้า เรียกเก็บในอัตรา ดังนี้
202.1
|
ส่งมอบโดยตรง
|
บาท/ตัน
|
|
202.1.1 ใช้เครื่องมือของท่าเรือ
|
20
|
|
202.1.2 ใช้เครื่องมือของเอกชน
|
10
|
202.2
|
ส่งมอบ ณ ที่เก็บสินค้า
|
|
|
202.2.1 ใช้เครื่องมือของท่าเรือ
|
40
|
|
202.2.2 ใช้เครื่องมือของเอกชน
|
25
|
|
203
|
ค่าธรรมเนียมฝากเก็บสินค้าขาเข้า (IMPORT CARGO STORAGE FEE)
เป็นค่าฝากเก็บสินค้าขาเข้าที่ขนถ่ายขึ้นจากเรือ และมิได้นำออกนอกเขตท่าเรือ หรือเปิดตู้สินค้า LCL นำสินค้าเข้าฝากเก็บ ณ ที่เก็บสินค้า ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากเก็บสินค้า ดังนี้
สินค้าทั่วไป ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากสินค้า 3 วัน นับถัดจากวัน เสร็จสิ้นการขนถ่ายของเรือ
สินค้าอันตราย ได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากสินค้า 1 วัน นับถัดจากวัน เสร็จสิ้นการขนถ่ายของสินค้ารายนั้น ๆ
สำหรับสินค้าจากตู้สินค้า LCL เรียกเก็บนับตั้งแต่วันที่ทำการเปิดตู้สินค้า จนถึงวันนำออกนอกเขตท่าเรือ เว้นแต่ยังอยู่ในระยะเวลาได้รับสิทธิไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมฝากตู้สินค้า LCL ขาเข้า ลำดับที่ 404
เมื่อพ้นระยะเวลาที่ได้รับสิทธิดังกล่าว จะเรียกเก็บเป็นรายวัน ในอัตรา ดังนี้
|
บาท/ตัน/วัน
ระยะเวลาฝากสินค้า(วัน)
|
1-7
|
8-14
|
ตั้งแต่ 15
|
203.1 |
สินค้าทั่วไป
|
5
|
10
|
15
|
203.2 |
สินค้าอันตราย
|
10
|
20
|
3
|
|
|